บทบาทของนักบริหารที่พึงควรมีต่อเรื่องการจัดระบบบริหารการบัญชี
1 รับรู้และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนภูมิการจัดองค์การในหน่วยงานการบัญชีว่าสามารถตอบสนองต่อภารกิจได้มากน้อยเพียง
2 ควรกำหนดให้มีการจัดทำหน้าที่ความรับผิดชอบของงานในแต่ละตำแหน่งให้ชัดเจน จำนวนตำแหน่งงานต้องเพียงพอและเหมาะสม
พิจารณาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานทางการบัญชีที่ทั้งหลายที่จะใช้ภายในองค์การสามารถตอบสนองต่อความต้องการของนักบริหารได้อย่างเพียงพอหรือไม่
4 ต้องมอบนโยบายเรื่องมาตรฐานการบัญชี ให้เกิดความชัดเจนต่อหน่วยการบัญชีว่าจะให้ปฏิบัติในลักษณะใดแบบใด
5องสั่งให้หน่วยการบัญชีจัดทำคู่มือระบบบัญชีขององค์การและนำเสนอต่อฝ่ายบริหารเพื่อแสดงความเห็นชอบ
6 ต้องรับรู้ พิจารณา และแสดงความคิดเห็นว่า รายงานทางการบัญชีต่าง ๆ ที่จะใช้ภายในองค์การ เพื่อการบริหารนั้น มีจำนวนที่เหมาะสม เพียงพอ และมีคุณค่าต่อการใช้ในทางการบริหารมากน้อย แค่ไหน อย่างไร
7 รายงานทางการบัญชีที่จะใช้แสดงต่อหน่วยงานภายนอก
8 นักบริหารต้องตอบสนองต่อรายงานทางการบัญชี
9 นักบริหารจะต้องนำเอาความรู้ ความเข้าใจ และปฏิกิริยาตอบสนองที่มีต่อรายงานทางการบัญชีนั้นไปวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นต่อบรรดานักบริหารในองค์การ
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2552
คุณประโยชน์ของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชี
ความหมายของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชี
ข้อมูลทางการบัญชี หมายถึง ข้อมูลที่ถูกประมวลผลขึ้นจากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในองค์การ โดยมีระบบบัญชีเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประมวลผล
ข่าวสารทางการบัญชี หมายถึง ข้อมูลทางการบัญชีที่ถูกนำมาแปลงสภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลทางการบัญชีใหม่ ข่าวสารทางการบัญชีที่มีคุณค่าในระดับสูงต่อนักบริหารภายในขององค์การ ในอันที่จะนำไปใช้ในการกำหนดกลยุทธทางการบริหารด้านต่าง ๆ
ข้อมูลทางการบัญชี ได้แก่ ยอดรวมของสินทรัพย์หมุนเวียนและยอดรวมของหนี้สินหมุนเวียน
ข่าวสารทางการบัญชี ได้แก่ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน
ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชี
ข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีมีอยู่หลายแบบ หลายประเภท เพราะองค์การมีความแตกต่างกันในกระบวนการของการดำเนินงาน จำเป็นต้องเลือกใช้ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีให้เหมาะสมกับองค์การของตัวเอง
1 ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีแบบโดยทั่ว ๆ ไป
1.1 งบดุล
1.2 งบกำไรขาดทุน
1.3 งบต้นทุนผลิต
1.4 งบต้นทุนขาย
1.5 งบกำไรสะสม
1.6 รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
1.7 งบประแสเงินสด
1.8 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน
1.9 งบทดลอง
1.10 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1.11 รายละเอียดประกอบต่าง ๆ เช่น รายละเอียดลูกหนี้ การค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ
1.12 งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
2 ประเภทข้อมูล และข่าวสารทางการบัญชีแบบเฉพาะกรณี ตามความต้องการของฝ่ายบริหารและคุณลักษณะขององค์การ
2.1 รายงานการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
2.2 รายงานการวิเคราะห์อายุลูกหนี้
2.3 รายงานความเคลื่อนไหวของสินค้าคงเหลือ
2.4 รายงานการวิเคราะห์ผลแตกต่าง (Variance)
ในแง่ต้นทุนวัตถุดิบ
ในแง่ต้นทุนแรงงาน
ในแง่ต้นทุนโสหุ้ยการผลิตผันแปรได้
ในแง่ต้นทุนโสหุ้ยการผลิตคงที่
2.5 รายงานการวิเคราะห์งบการเงินที่มีการปรับดัชนีราคา (Price Index)
2.6 รายงานวิเคราะห์ศูนย์ต้นทุน - ศูนย์กำไร
2.7 รายงานวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรม
นักบริหารขององค์การสมัยใหม่ควรที่จะเอาองค์ความรู้ทางการบัญชีว่าด้วยต้นทุนกิจกรรมเข้าไปประยุกต์ในองค์การของตนให้ได้
2.8 รายงานการวิเคราะห์ในเชิงบูรณาการ คือรายงานประเภทที่ฝ่ายบริหารกับหน่วยงานการบัญชีจะต้องช่วยกันระดมความคิด ซึ่งฝ่ายบริหารกับหน่วยงานการบัญชีได้ร่วมกันวิเคราะห์แล้วคิดว่า ข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีในรูปแบบของรายงานแบบนั้น ๆ น่าจะมีประโยชน์ต่อองค์การของตน
ข้อมูลทางการบัญชี หมายถึง ข้อมูลที่ถูกประมวลผลขึ้นจากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในองค์การ โดยมีระบบบัญชีเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประมวลผล
ข่าวสารทางการบัญชี หมายถึง ข้อมูลทางการบัญชีที่ถูกนำมาแปลงสภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลทางการบัญชีใหม่ ข่าวสารทางการบัญชีที่มีคุณค่าในระดับสูงต่อนักบริหารภายในขององค์การ ในอันที่จะนำไปใช้ในการกำหนดกลยุทธทางการบริหารด้านต่าง ๆ
ข้อมูลทางการบัญชี ได้แก่ ยอดรวมของสินทรัพย์หมุนเวียนและยอดรวมของหนี้สินหมุนเวียน
ข่าวสารทางการบัญชี ได้แก่ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน
ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชี
ข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีมีอยู่หลายแบบ หลายประเภท เพราะองค์การมีความแตกต่างกันในกระบวนการของการดำเนินงาน จำเป็นต้องเลือกใช้ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีให้เหมาะสมกับองค์การของตัวเอง
1 ประเภทของข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีแบบโดยทั่ว ๆ ไป
1.1 งบดุล
1.2 งบกำไรขาดทุน
1.3 งบต้นทุนผลิต
1.4 งบต้นทุนขาย
1.5 งบกำไรสะสม
1.6 รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
1.7 งบประแสเงินสด
1.8 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน
1.9 งบทดลอง
1.10 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1.11 รายละเอียดประกอบต่าง ๆ เช่น รายละเอียดลูกหนี้ การค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ
1.12 งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
2 ประเภทข้อมูล และข่าวสารทางการบัญชีแบบเฉพาะกรณี ตามความต้องการของฝ่ายบริหารและคุณลักษณะขององค์การ
2.1 รายงานการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
2.2 รายงานการวิเคราะห์อายุลูกหนี้
2.3 รายงานความเคลื่อนไหวของสินค้าคงเหลือ
2.4 รายงานการวิเคราะห์ผลแตกต่าง (Variance)
ในแง่ต้นทุนวัตถุดิบ
ในแง่ต้นทุนแรงงาน
ในแง่ต้นทุนโสหุ้ยการผลิตผันแปรได้
ในแง่ต้นทุนโสหุ้ยการผลิตคงที่
2.5 รายงานการวิเคราะห์งบการเงินที่มีการปรับดัชนีราคา (Price Index)
2.6 รายงานวิเคราะห์ศูนย์ต้นทุน - ศูนย์กำไร
2.7 รายงานวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรม
นักบริหารขององค์การสมัยใหม่ควรที่จะเอาองค์ความรู้ทางการบัญชีว่าด้วยต้นทุนกิจกรรมเข้าไปประยุกต์ในองค์การของตนให้ได้
2.8 รายงานการวิเคราะห์ในเชิงบูรณาการ คือรายงานประเภทที่ฝ่ายบริหารกับหน่วยงานการบัญชีจะต้องช่วยกันระดมความคิด ซึ่งฝ่ายบริหารกับหน่วยงานการบัญชีได้ร่วมกันวิเคราะห์แล้วคิดว่า ข้อมูลและข่าวสารทางการบัญชีในรูปแบบของรายงานแบบนั้น ๆ น่าจะมีประโยชน์ต่อองค์การของตน
กรอบแนวความคิดทางการบัญชี
ความหมายของคำว่าการบัญชี
การบัญชี หมายถึง กระบวนการในการปฏิบัติงานด้านเอกสาร สมุดบัญชี และทะเบียนต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ และกิจกรรมเหล่านั้นมักจะเกี่ยวข้องกับตัวเลขทางการเงินขององค์การ ซึ่งหน่วยงานทางการบัญชีจะต้องนำข้อเท็จจริงเหล่านั้นไปบันทึกไว้เป็นหลักฐาน โดยมีการจำแนกแจกแจงและจัดหมวดหมู่ให้ถูกต้อง โดยอาศัยวิธีการและหลักการที่ถูกต้องในการประมวลผล เพื่อให้ได้งบการเงินและรายงานทางการบัญชีต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารขององค์การและสาธารณชนโดยทั่วไป
ประเภทของการบัญชี ในองค์การสมัยใหม่ควรมี 6 ระบบบัญชีหลัก ที่สำคัญ ดังนี้
2.1 ระบบบัญชีทั่วไป (General Accounting)
2.2 ระบบบัญชีเพื่อบริหาร (Management Accounting)
2.3 ระบบบัญชีต้นทุน (Cost Accounting)
2.4 ระบบบัญชีงบประมาณ
2.5 ระบบการตรวจสอบบัญชี (Auditing)
2.6 ระบบบัญชีแบบศูนย์ต้นทุน ศูนย์กำไร (Profit Center – Cost Center)
หน้าที่อันสำคัญของการบัญชี
เรื่องการบัญชีนั้นนักบริหารส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเชิงรับมากกว่าเชิงรุก กล่าวคือ ไม่ทราบว่าจะบริหารการบัญชีอย่างไรจึงจะถูกต้อง จึงต้องได้แต่รอคอยการรายงานจากหน่วยงานการบัญชีอย่างเดียว
หน้าที่หลักของการบัญชี
- จัดทำงบการเงินและการบัญชีให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อนำเสนอต่อผู้ถือหุ้นและหน่วยงานราชการ
- รวบรวมเอกสารและหลักฐานที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่าง ๆ ขอองค์การไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ
- แปลงเอกสารและหลักฐานที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริงให้แสดงออกมาในรูปของการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองกันโดยทั่วไป
- ออกแบบระบบบัญชีให้สอดคล้องกับลักษณะของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขององค์การ
- นำเสนอข้อมูลและข้าวสารทางการบัญชี
- จัดทำบทวิเคราะห์ในแง่มุมต่าง ๆ จากตัวเลขที่ประมวลผลได้
- นำเสนอกรอบแนวคิดในการพัฒนาองค์การโดยบูรณาการ
- วิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
- ทำการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขขององค์การกับองค์การอื่น ๆ
- วิเคราะห์และศึกษาความเป็นไปของโครงการลงทุนใหม่
หน้าที่รองของการบัญชี
- ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกองค์การ
- ช่วยวิเคราะห์ศึกษาและชี้แจง ข้อสงสัยในบางประเด็น
- ช่วยส่งเสริมองค์ความรู้ทางการบัญชีและการบริหารการเงินให้แก่นักบริหาร และบุคลากรภายในองค์การ
- ทำการประสานงานกับหน่วยต่าง ๆ ภายในองค์การ
- ทำหน้าที่พัฒนาระบบบัญชีขององค์การให้ทันสมัยอยู่เสมอ
- ช่วยงานด้านอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากฝ่ายบริหารระดับสูง
คำตอบก็คือที่ผ่านมาเมื่อในอดีตนักบริหารไทยได้ปล่อยปละละเลยต่อเรื่องการบัญชีเป็นอย่างมีก จึงมีผลทำให้นักบริหารไม่มีความสามารถอย่างเพียงพอ
ความเป็นนักบริหารสมัยใหม่
จะสังเกตเห็นได้ว่าในระยะหลัง ๆ นี้ นักบริหารไทยมีความตื่นตัวที่จะพัฒนาตนเองในหลาย ๆ ด้านเพื่อให้ตนนั้นได้ชื่อว่าเป็นนักบริหารสมัยใหม่
1 การมีองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ ความเป็นนักบริหารสมัยใหม่ต้องรอบรู้ในหลาย ๆ มิติ
2 ต้องมีความสามารถด้านการบริหารการเงินอย่างเข้มแข็ง นักบริหารจะต้องมีความรู้ในเรื่องการบัญชีในระดับหนึ่งเสียก่อนจึงจะไปวิเคราะห์เรื่องการบริหารการเงินได้
3 ต้องมีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้
นักบริหารจะต้องนำเอากรอบองค์ความรู้ที่หลากหลายมาเชื่อมโยง เพื่อวิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้นได้อย่างเป็นระบบ จะเห็นได้ว่าในการวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์การในแต่ละรื่องนั้นจะใช้องค์ความรู้เพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ จำเป็นที่จะต้องนำเอาความรู้ที่หลากหลายมาบูรณาการ เพื่อจะวิเคราะห์ปัญหา
4 ต้องมีวิสัยทัศน์ (Vision)
นักบริหารสมัยใหม่จะต้องมีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาองค์การอยู่ตลอดเวลา
5 ต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมต่อสังคม
สังคมจะทำหน้าที่ตรวจสอบองค์การต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา
6 ต้องมีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
การใช้เครื่องมือทางการบัญชีและการเงินก็เป็นหนทางหนึ่งในเชิงปริมาณที่สามารถนำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ในการกระจายรายได้
7 ต้องสนใจเรื่องเทคโนโลยี และระบบข่าวสารเพื่อการบริหาร (Management information systems)
เป็นสิ่งที่นักบริหารไทยไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้
8 ต้องหมั่นติดตามและวิเคราะห์ตัวแปรภายนอกที่จะมากระทบองค์การอย่างสม่ำเสมอ
นักบริหารสมัยใหม่ต้องหมั่นติดตามตัวแปรที่อยู่ภายนอกองค์การอย่างสม่ำเสมอ
การบัญชี หมายถึง กระบวนการในการปฏิบัติงานด้านเอกสาร สมุดบัญชี และทะเบียนต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ และกิจกรรมเหล่านั้นมักจะเกี่ยวข้องกับตัวเลขทางการเงินขององค์การ ซึ่งหน่วยงานทางการบัญชีจะต้องนำข้อเท็จจริงเหล่านั้นไปบันทึกไว้เป็นหลักฐาน โดยมีการจำแนกแจกแจงและจัดหมวดหมู่ให้ถูกต้อง โดยอาศัยวิธีการและหลักการที่ถูกต้องในการประมวลผล เพื่อให้ได้งบการเงินและรายงานทางการบัญชีต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารขององค์การและสาธารณชนโดยทั่วไป
ประเภทของการบัญชี ในองค์การสมัยใหม่ควรมี 6 ระบบบัญชีหลัก ที่สำคัญ ดังนี้
2.1 ระบบบัญชีทั่วไป (General Accounting)
2.2 ระบบบัญชีเพื่อบริหาร (Management Accounting)
2.3 ระบบบัญชีต้นทุน (Cost Accounting)
2.4 ระบบบัญชีงบประมาณ
2.5 ระบบการตรวจสอบบัญชี (Auditing)
2.6 ระบบบัญชีแบบศูนย์ต้นทุน ศูนย์กำไร (Profit Center – Cost Center)
หน้าที่อันสำคัญของการบัญชี
เรื่องการบัญชีนั้นนักบริหารส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเชิงรับมากกว่าเชิงรุก กล่าวคือ ไม่ทราบว่าจะบริหารการบัญชีอย่างไรจึงจะถูกต้อง จึงต้องได้แต่รอคอยการรายงานจากหน่วยงานการบัญชีอย่างเดียว
หน้าที่หลักของการบัญชี
- จัดทำงบการเงินและการบัญชีให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อนำเสนอต่อผู้ถือหุ้นและหน่วยงานราชการ
- รวบรวมเอกสารและหลักฐานที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่าง ๆ ขอองค์การไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ
- แปลงเอกสารและหลักฐานที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริงให้แสดงออกมาในรูปของการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองกันโดยทั่วไป
- ออกแบบระบบบัญชีให้สอดคล้องกับลักษณะของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขององค์การ
- นำเสนอข้อมูลและข้าวสารทางการบัญชี
- จัดทำบทวิเคราะห์ในแง่มุมต่าง ๆ จากตัวเลขที่ประมวลผลได้
- นำเสนอกรอบแนวคิดในการพัฒนาองค์การโดยบูรณาการ
- วิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
- ทำการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขขององค์การกับองค์การอื่น ๆ
- วิเคราะห์และศึกษาความเป็นไปของโครงการลงทุนใหม่
หน้าที่รองของการบัญชี
- ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกองค์การ
- ช่วยวิเคราะห์ศึกษาและชี้แจง ข้อสงสัยในบางประเด็น
- ช่วยส่งเสริมองค์ความรู้ทางการบัญชีและการบริหารการเงินให้แก่นักบริหาร และบุคลากรภายในองค์การ
- ทำการประสานงานกับหน่วยต่าง ๆ ภายในองค์การ
- ทำหน้าที่พัฒนาระบบบัญชีขององค์การให้ทันสมัยอยู่เสมอ
- ช่วยงานด้านอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากฝ่ายบริหารระดับสูง
คำตอบก็คือที่ผ่านมาเมื่อในอดีตนักบริหารไทยได้ปล่อยปละละเลยต่อเรื่องการบัญชีเป็นอย่างมีก จึงมีผลทำให้นักบริหารไม่มีความสามารถอย่างเพียงพอ
ความเป็นนักบริหารสมัยใหม่
จะสังเกตเห็นได้ว่าในระยะหลัง ๆ นี้ นักบริหารไทยมีความตื่นตัวที่จะพัฒนาตนเองในหลาย ๆ ด้านเพื่อให้ตนนั้นได้ชื่อว่าเป็นนักบริหารสมัยใหม่
1 การมีองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ ความเป็นนักบริหารสมัยใหม่ต้องรอบรู้ในหลาย ๆ มิติ
2 ต้องมีความสามารถด้านการบริหารการเงินอย่างเข้มแข็ง นักบริหารจะต้องมีความรู้ในเรื่องการบัญชีในระดับหนึ่งเสียก่อนจึงจะไปวิเคราะห์เรื่องการบริหารการเงินได้
3 ต้องมีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้
นักบริหารจะต้องนำเอากรอบองค์ความรู้ที่หลากหลายมาเชื่อมโยง เพื่อวิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้นได้อย่างเป็นระบบ จะเห็นได้ว่าในการวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์การในแต่ละรื่องนั้นจะใช้องค์ความรู้เพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ จำเป็นที่จะต้องนำเอาความรู้ที่หลากหลายมาบูรณาการ เพื่อจะวิเคราะห์ปัญหา
4 ต้องมีวิสัยทัศน์ (Vision)
นักบริหารสมัยใหม่จะต้องมีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาองค์การอยู่ตลอดเวลา
5 ต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมต่อสังคม
สังคมจะทำหน้าที่ตรวจสอบองค์การต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา
6 ต้องมีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
การใช้เครื่องมือทางการบัญชีและการเงินก็เป็นหนทางหนึ่งในเชิงปริมาณที่สามารถนำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ในการกระจายรายได้
7 ต้องสนใจเรื่องเทคโนโลยี และระบบข่าวสารเพื่อการบริหาร (Management information systems)
เป็นสิ่งที่นักบริหารไทยไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้
8 ต้องหมั่นติดตามและวิเคราะห์ตัวแปรภายนอกที่จะมากระทบองค์การอย่างสม่ำเสมอ
นักบริหารสมัยใหม่ต้องหมั่นติดตามตัวแปรที่อยู่ภายนอกองค์การอย่างสม่ำเสมอ
วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2552
บัญชีครัวเรือน
เวลาจัดทำบัญชีครัวเรือน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
(1) แยกประเภทของรายได้ และค่าใช้จ่าย แต่ละประเภทออกมา อาจใช้สมุดบัญชีที่มีขายตามร้านทั่วไป หรือหาสมุดมาตีเส้น แบ่งออกเป็นแถวในแนวตั้งและแนวนอน เพื่อจดรายการ
(2) กำหนดรหัสประเภทของรายได้ และ ค่าใช้จ่าย เพื่อใช้สรุปประเภทของค่าใช้จ่าย
(3) เริ่มจากยอดเงินสดยกมา หรือ เงินทุนตั้งต้น แล้ว บวก ด้วยรายได้ หัก ด้วยค่าใช้จ่าย และแสดงยอดคงเหลือไว้
(4) นำรายการที่เป็นบัญชีประเภทเดียวกัน รวมยอดเข้าด้วยกัน แล้ว แยกไปสรุปไว้ต่างหาก โดยสรุปยอดตามแต่ต้องการ เช่น เป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ หรือรายเดือน เป็นต้น
(1) แยกประเภทของรายได้ และค่าใช้จ่าย แต่ละประเภทออกมา อาจใช้สมุดบัญชีที่มีขายตามร้านทั่วไป หรือหาสมุดมาตีเส้น แบ่งออกเป็นแถวในแนวตั้งและแนวนอน เพื่อจดรายการ
(2) กำหนดรหัสประเภทของรายได้ และ ค่าใช้จ่าย เพื่อใช้สรุปประเภทของค่าใช้จ่าย
(3) เริ่มจากยอดเงินสดยกมา หรือ เงินทุนตั้งต้น แล้ว บวก ด้วยรายได้ หัก ด้วยค่าใช้จ่าย และแสดงยอดคงเหลือไว้
(4) นำรายการที่เป็นบัญชีประเภทเดียวกัน รวมยอดเข้าด้วยกัน แล้ว แยกไปสรุปไว้ต่างหาก โดยสรุปยอดตามแต่ต้องการ เช่น เป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ หรือรายเดือน เป็นต้น
การทำบัญชี
การทำบัญชี
1. การจัดทำบัญชี หมายถึง การจดบันทึกรายการเกี่ยวกับการเงินทุกรายการ ทั้งที่ได้รับเข้ามาและจ่ายออกไป เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินการว่าได้กำไรหรือขาดทุนมากน้อยแค่ไหน
2. ประโยชน์ของการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย
2.1. เพื่อจดบันทึกรายละเอียดของการดำเนินกิจการเรียงลำดับก่อนและหลัง
2.2. เป็นการควบคุมรักษาทรัพย์สินของกิจการ
2.3. ป้องกันความผิดพลาดในการดำเนินการ
2.4. ทำให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ
2.5. เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบผลกำไร – ขาดทุนของกิจการได้ทุกเวลา
3. หลักการทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย
3.1. จัดทำแบบฟอร์มบัญชีรายรับ – รายจ่ายให้ง่ายต่อการจดบันทึก
3.2. จดบันทึกรายการรายรับ – รายจ่ายตามเหตุการณ์เกิดขึ้นจริง
3.3. สรุปยอดเงิน คือสรุปรายรับ - รายจ่ายประจำวัน
1. การจัดทำบัญชี หมายถึง การจดบันทึกรายการเกี่ยวกับการเงินทุกรายการ ทั้งที่ได้รับเข้ามาและจ่ายออกไป เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินการว่าได้กำไรหรือขาดทุนมากน้อยแค่ไหน
2. ประโยชน์ของการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย
2.1. เพื่อจดบันทึกรายละเอียดของการดำเนินกิจการเรียงลำดับก่อนและหลัง
2.2. เป็นการควบคุมรักษาทรัพย์สินของกิจการ
2.3. ป้องกันความผิดพลาดในการดำเนินการ
2.4. ทำให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ
2.5. เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบผลกำไร – ขาดทุนของกิจการได้ทุกเวลา
3. หลักการทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย
3.1. จัดทำแบบฟอร์มบัญชีรายรับ – รายจ่ายให้ง่ายต่อการจดบันทึก
3.2. จดบันทึกรายการรายรับ – รายจ่ายตามเหตุการณ์เกิดขึ้นจริง
3.3. สรุปยอดเงิน คือสรุปรายรับ - รายจ่ายประจำวัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)